แม่ทัพภาคที่ 4 ร่วมกิจกรรมรอมฏอนสัมพันธ์ ในค่ายวชิราวุธ
แม่ทัพภาคที่ 4 มอบอินทผาลัมและเครื่องอุปโภคบริโภค ใน “กิจกรรมรอมฏอนสัมพันธ์” ให้กับพี่น้องชาวไทยมุสลิมค่ายวชิราวุธ ส่งเสริมสังคมพหุวัฒนธรรม
นครศรีธรรมราช คือจังหวัดทางตอนกลางของภาคใต้แห่งประเทศไทย ภูมิประเทศเป็นป่าดิบชื้น ภูมิอากาศส่วนใหญ่จะเป็นฝน และมีร้อนบ้างสลับกันไป คนใต้จะเรียกตัวเองว่า คนคอน จังหวัดคอน พื้นที่ของนครศรีธรรมราชโตเป็นอันดับ 2 ของภาคใต้
แหล่งท่องเที่ยวต่างๆจะมีหลายแบบมาก
Nakhon Si Thammarat is one of the oldest cities in Thailand with a rich history. The earliest settlement in the vicinity of the city was Tha Rua, about ten kilometers south of the modern city, where ceramics from the Song dynasty[2] were found dated to the twelfth century.[3] The settlement then moved to Muang Phra Wieng, which was associated with the Tambralinga Kingdom, four kilometers to the south. An inscription was found at Wat Sema Muang that bore: The king of Srivijaya “had established a foothold on the Malay Peninsula at Ligor” by 775, where he “built various edifices, including a sanctuary dedicated to the Buddha and to the Bodhisattvas Padmapani and Vajrapani.”[4]: 84–85, 91 Tambralinga, whose name means “Red Linga” (from Sanskrit tām(b)ra “copper” and lingam) and may relate to Chinese Tan Ma Ling (單馬令), was one of the polities under Mahayanist Srivijaya thalassocracy.
The Chronicles of Nakorn Si Thammarat, composed in the seventeenth century, attributed the foundation of current city of Nakhon Si Thammarat to King Sri Thammasok in the thirteenth century. An inscription found at Chaiya stated that King Sri Thammasok ruled Tambralinga in 1231. King Sri Thammasok constructed Wat Phra Mahathat and introduced Singhalese Theravada Buddhism. The Nakhon Si Thammarat Kingdom held authorities over “twelve cities” that extended from Chumphon to the north and Pahang to the south.[5] The Ramkamhaeng Stele of Sukhothai first mentioned “Nakhon Si Thammarat” in 1292, which means “The City of King Sri Thammasok” or “The City of the Virtuous king”. The Nakhon Si Thammarat kingdom ended and the city perished in the fourteenth century. The ruler of Phetchaburi known as Phra Phanom Thale sent his son Phra Phanom Wang to re-establish the city and rule.[5] Nakhon Si Thammarat then came under the influence of Central Siamese Kingdom of Ayutthaya under the mandala system.
Nakhon Si Thammarat was further incorporated into Ayutthaya, who appointed governors to the city, through centralization under King Trailokanat in the fifteenth century. Nakhon Si Thammarat served as the main seat of Siamese authority over Southern Thailand and the Malay Peninsula, becoming Muang Ek or first-level city. Nakhon Si Thammarat was known of Western sources as “Ligor”, which was derived from the term “Nakhon”. Yamada Nagamasa, the Japanese adventurer, was appointed as the governor of Ligor in 1629. In the 1680s, during the reign of King Narai, M. de Lamare the French architect renovated the city walls.[2] After the Siamese revolution of 1688, the governor of Ligor rebelled against the new King Phetracha. King Phetracha sent troops to put down rebels in Ligor in 1692. The powers of the governors of Ligor was then curbed and Ligor was put under the authority of Samuha Kalahom the Prime Minister of Southern Siam.
After the Fall of Ayutthaya in 1767, Phra Palat Nu the vice-governor of Ligor established himself as the local warlord and ruler over Southern Thailand. King Taksin of Thonburi marched south to subjugate Phra Palat Nu or Chao Phraya Nakhon Nu in 1769. Chao Phraya Nakhon Nu was taken to Thonburi but King Taksin re-installed Nakhon Nu as a tributary ruler of Ligor in 1776. King Rama I re-established the governorship of Ligor in 1784 and it ceded to be a tributary kingdom. During the Burmese-Siamese War in 1786, the city of Ligor was sacked by the invading Burmese. During the tenure of Chao Phraya Nakhon Noi (1811-1838), known in British sources as the “Raja of Ligor”, Ligor retained a relative autonomy[6] and emerged as the political and cultural center of Southern Siam. Bishop Pallegoix mentioned that the city of Ligor had the population of 150,000 people,[7] perhaps the largest city in southern Siam before being surpassed by Surat Thani and Hatyai in modern times.
After Nakhon Noi, his son and grandson became respective governors of Nakhon Si Thammarat. During the reforms of King Chulalongkorn, the traditional governorship of Ligor was abolished and the city was incorporated into the Monthon Nakhon Si Thammarat 1896. When the monthon system was abolished in 1932, the town became a provincial capital.
แม่ทัพภาคที่ 4 มอบอินทผาลัมและเครื่องอุปโภคบริโภค ใน “กิจกรรมรอมฏอนสัมพันธ์” ให้กับพี่น้องชาวไทยมุสลิมค่ายวชิราวุธ ส่งเสริมสังคมพหุวัฒนธรรม
เมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2567 เวลา 13.00 น.ที่หอประชุมเทศบาลตำบลลานสกา อำเภอลานสกา จังหวัดนครศรีธรรมราช นำโดยนายยุทธนา เนติศุภชีวิน ประธานสภาทนายความภาค 8 และคณะกรรมการสภาทนายความภาค 8
เมื่อเวลา 11.30 น. วันที่ 20 มีนาคม ศูนย์วิทยุเจดีย์งาม (เทศบาลนคร นครศรีฯ) ได้รับแจ้งเหตุไฟไหม้บ้านบริเวณตรงข้ามร้านอาหารชาวเรือ ชุมชนบ่อทรัพย์ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง นครศรีธรรมราช
ย่านท่าวัง อดีตศูนย์กลางการค้าขายของเมืองนครศรีธรรมราช มีอาคารบ้านเรือนอายุนับร้อยปี มีชุมชนชาวจีนเก่าแก่ ใกล้ๆกันก็มีชุมชนอิสลาม ชุมชนมอญ
ย่างเข้าสู่เดือนกุมภาพันธ์ ภาคใต้บ้านเราก็เริ่มเข้าสู่ฤดูร้อนกันแล้ว หลายคนเริ่มมองหาคาเฟ่ใกล้บ้านที่มีน้ำตก มีคลอง มีน้ำให้เล่น สำหรับพื้นที่ทุ่งสง ชี้เป้าไปที่ ริมธาร คาเฟ่ ตั้งอยู่ในพื้นที่หุบเขาวังหีบอันอุดมสมบูรณ์
ที่อำเภอนาบอน นครศรีธรรมราช พล.ต.ต.สมชาย ซื่อต่อตระกูล ผู้บังคับการตำรวจภูธรนครศรีธรรมราช พ.ต.อ.พิศิษฐ์ วิเศษวงศ์ ผู้กำกับการกองกำกับการสืบสวนตำรวจภูธรนครศรีธรรมราช พ.ต.ท.เสถียร จันทร์ชุม
กรมราชทัณฑ์ ออกเอกสารชี้แจงกรณีส่งตัว นายทักษิณ ชินวัตร ไปรักษาพยาบาลที่โรงพยาบาลภายนอก ตั้งแต่วันที่ 23 ส.ค.2566 เป็นต้นมา โดยพบว่านายทักษิณมีโรคประจำตัวหลายโรคที่อยู่ระหว่างการรักษาติดตามอาการ
คาเฟ่ย่านในเมืองนครศรีธรรมราชที่ใช้ประโยชน์จากบ้านที่อยู่อาศัยหลบตัวอยู่ย่านนาเคียน แต่มีความสดชื่นของธรรมชาติ แค่ขับรถไปทางถนนมะขามชุมหรือถนนสายทุ่งท่าลาดมุ่งหน้าไปทางนาเคียน
พรหมคีรี ได้ชื่อว่าเป็นดินแดนที่เต็มไปด้วยธรรมชาติ ป่า น้ำตก ภูเขา ลำคลอง สวนผลไม้ต่างๆ จึงเป็นอำเดภอหนึ่งที่ได้รับความนิยมจากนักท่องเที่ยวจำนวนมาก มีคาเฟ่มากมายไว้รองรับ
เจ้าแห่งการประดิษฐ์คำคงต้องบอกว่าเป็นคนปักษ์ใต้บ้านเรา แม่น้ำภูเขาทะเลกว้างไกล นี่แหละครับ (ร้องเป็นเพลงซะเลย) ในวันนี้เราเอาคำที่พบเจอบ่อยมาก กับคำที่มีความหมายว่า “ใหญ่”
เริ่มแล้วจ้า งานอุตสาหกรรมแฟร์ ซึ่งมีสินค้ามากมายให้ได้เลือกช็อป โดยมีร้านค้าเข้าร่วมกิจกรรมกว่า 300 บูธ แน่นอนว่าสินค้าหลากหลาย อาหาร เครื่องใช้ เครื่องมือการเกษตร เสื้อผ้า ยานยนต์
คำว่า หมด ในภาษาใต้มีการใช้กันหลายคำมาก เช่น
คำว่า ทำหรอย ถ้าเขียนติดกันแบบนี้มักจะมีความหมายในทางนั […]
ความหมายของคำว่า “ได้แรงอก” เป็นคำพูดแสดงถึ […]
เรี่ยมเรี่ยม แปลว่า
คำว่า “มาก” ในภาษาใต้นั้นมีอยู่หลายคำ แต่ละท้องถิ่นอาจจ […]
การทำงานในหลายอาชีพ ไม่จำเป็นต้องนั่งอยู่ที่บริษัท สามารถหิ้วโน้ตบุคออกไปหาแรงบันดาลใจตามพื้นที่คาเฟ่ต่างๆ ซึ่งสามารถนั่งทำงานได้อย่างสบาย ไอเดียกระฉูด แอดมินเลยต้องมาหาพื้นที่ของเมืองนครศรีธรรมราชว่าเขานั่งตรงไหนกัน
วัดวังกลม เป็นวัดเก่าแก่เกิน 100 ปี ตั้งอยู่ในพื้นที่หมู่ 4 ต.บ้านตูล อ.ชะอวด จ.นครศรีธรรมราช ภายในวัดมีอุโบสถเก่าอายุเท่าไหร่ไม่มีข้อมูลแน่ชัด แต่จากการสอบถามคนรุ่นเก่าที่มีอายุเกิน 80 ปี ภายในมีพระพุทธรูป
นำภาพขบวนแห่หมรับมาให้ชมกันบางส่วน แอดมินไม่ได้เดินตลอดงาน เก็บเอาช่วงการแสดงสวยๆมาฝากกัน ที่นี่ งานเดือนสิบ เมืองนครศรีธรรมราช ประจำปี 2566 สวยงามมากครับ
งานเดือนสิบเมืองนครศรีธรรมราชประจำปี 2566 ได้เริ่มขึ้นแล้วอย่างยิ่งใหญ่ เรียกว่าจัดกันในหลายพื้นที่ หลายอำเภอต่างก็มีกิจกรรมงานเดือนสิบของตัวเอง สำหรับตัวเมืองนครศรีธรรมราชรู้กันแล้วว่ามีงานในหลายจุด
วันหยุดสุดสบาย ออกเดินทางท่องเที่ยวแถบชายหาดเมืองขนอม หาคาเฟ่สวยๆนั่งให้เย็นใจ อากาศวันนี้ร้อนมากเลยต้องหาที่มีห้องแอร์เย็นๆ พิกัดอยู่ที่โรงแรมชลนภา